Difference between revisions of "Main Page"

From learnnshare
Jump to: navigation, search
 
(261 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
<strong>MediaWiki has been successfully installed.</strong>
+
<div align="center"><strong><span style="font-size: 125%; color: blue;">Learn</span> <span style="font-size: 125%; color: orange;">&</span> <span style="font-size: 125%; color: green;">Share</span> <span style="font-size: 125%; color:  magenta;">@ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</span></strong>  มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ ดังนี้</div><br />
  
Consult the [//meta.wikimedia.org/wiki/Help:Contents User's Guide] for information on using the wiki software.
+
<!------------learn & share @BCNPY objective--------------------->
 +
<hr />
 +
{| style="width: 100%; border: 1px solid #cef2e0; background-color: #f5fffa; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px;" |
 +
|-
 +
! style="width: 50%; font-size: 100%; font-weight: normal; text-align: left; padding-left: 7px; background-color: #fdfde1; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px" |
 +
; [[ File:no1-icon.png|50px|left ]]<font color="blue">ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font>
 +
<hr noshade />
 +
: ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยทักษะทางด้าน ICT เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21<sup>st</sup> Century Learning Knowledge-and-Skills)  ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) <ref name="P21" /> ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่
 +
:: • 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)
 +
:: • 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์)
 +
: ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
 +
[[ File:21st-century-rainbow.jpg|450px|center|border|21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow ]]
  
== Getting started ==
+
<font color="blue">
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Manual:Configuration_settings Configuration settings list]
+
; ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font> <ref name="text_ajvijarn" />  ประกอบด้วย
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Manual:FAQ MediaWiki FAQ]
+
: 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์ 
* [https://lists.wikimedia.org/mailman/listinfo/mediawiki-announce MediaWiki release mailing list]
+
: 2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Localisation#Translation_resources Localise MediaWiki for your language]
+
: 3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่นำไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  
 +
! style="width: 50%; font-size: 100%; font-weight: normal; text-align: left; padding-left: 7px; background-color: #ddfcde; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px" |
 +
; [[ File:no2-icon.png|50px|left ]]<font color="brown">ใช้เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน/ปฎิบัติงาน</font>
 +
<hr noshade />
 +
: ของนักศึกษาและบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยความรู้ที่จัดเก็บอาจจะเป็น
 +
: ความรู้แบบชัดแจ้งที่มีจัดเก็บเป็นลายลักษณ์อักษร(Explicit Knowledge) 
 +
: หรือเป็นความรู้แบบที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) และนำมาพัฒนาให้เป็นระบบ
 +
: เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ แชร์และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ได้
 +
[[ File:km-icon.png|400px|border|center|Knowledge Management ]]<ref name="km" />
  
{{#widget:YouTube|id=DWef69ItVrU}}
+
<font color="blue">
 +
; การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู”</font>  ดังนี้
 +
: 1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
 +
: 2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
 +
: 3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้  ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs)
 +
[[ File:tuna-model.png|400px|border|center|Tuna Model ]]
 +
 
 +
|}
 +
 
 +
<!------------จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์-------------------->
 +
<hr />
 +
<table width="100%" border="0" cellspacing="1" cellpadding="1">
 +
<tr align="left" valign="bottom">
 +
  <th colspan="5" bgcolor="#fdf6ec"><strong><span style="font-size: 125%; color:  magenta;">[[ File:learn-icon.png|border|50px ]] จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์</span> ( <span style="font-size: 125%; color: blue;">Start at a Learning Point</span> )</strong><hr /></th>
 +
  </tr>
 +
<tr valign="middle" align="center">
 +
  <td bgcolor="#bffc67">[[ File:ict-mediawiki-icon.png|150x150px|border|รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki|link=ICT-Wikitext ]] <br />รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki<br /><br /></td>
 +
  <td align="right">[[ File:right-arrow-icon.png|center ]]</td>
 +
  <td width="20%">[[ File:ict-icon.png|border|120x120px|เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT|link=ICT-MainPage ]] <br />เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT<br /><br /></td>
 +
  <td width="20%">[[ File:nurselab-icon.png|border|120x120px|เรียนรู้และแชร์ห้องปฏิบัติการพยาบาล |link=NurseLab-MainPage ]] <br />เรียนรู้และแชร์<br />ห้องปฏิบัติการพยาบาล</td>
 +
  <td width="20%">&nbsp;</td>
 +
</tr>
 +
</table><hr />
 +
 
 +
<!------------แหล่งอ้างอิง--------------------->
 +
<br /><span style="color: brown"><u>แหล่งข้อมูลอ้างอิง</u></span>
 +
<references>
 +
<ref name="P21">http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref>
 +
<ref name="text_ajvijarn">วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.</ref>
 +
<ref name="km">http://www.dreamstime.com .สืบค้นวันที่ 7 ธ.ค.2558</ref>
 +
</references>
 +
 
 +
<!------------Copyrights-------------------->
 +
<br /><hr  />
 +
<div align="center"><span style="color: brown">Copyrights &reg; </span><strong><span style="font-size: 100%; color: blue;">Learn</span> <span style="font-size: 100%; color: orange;">&</span> <span style="font-size: 100%; color: green;">Share</span> <span style="font-size: 100%; color:  magenta;">@ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</span></strong>
 +
<br />จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาเท่านั้น มิได้สร้างเพื่อหวังผลกำไร หากมีข้อความและภาพที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ขอความอนุเคราะห์เจ้าของนำมาประกอบการใช้งานและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้</div>

Latest revision as of 05:18, 15 February 2016

Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ ดังนี้


No1-icon.png
ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)

ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยทักษะทางด้าน ICT เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Knowledge-and-Skills) ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) [1] ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่
• 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)
• 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์)
ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow

ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) [2] ประกอบด้วย
1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์
2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น
3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่นำไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
No2-icon.png
ใช้เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน/ปฎิบัติงาน

ของนักศึกษาและบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยความรู้ที่จัดเก็บอาจจะเป็น
ความรู้แบบชัดแจ้งที่มีจัดเก็บเป็นลายลักษณ์อักษร(Explicit Knowledge)
หรือเป็นความรู้แบบที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) และนำมาพัฒนาให้เป็นระบบ
เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ แชร์และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ได้
Knowledge Management
[3]

การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู” ดังนี้
1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs)
Tuna Model

Learn-icon.png จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์ ( Start at a Learning Point )
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki

Right-arrow-icon.png
เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT
เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT

เรียนรู้และแชร์ห้องปฏิบัติการพยาบาล
เรียนรู้และแชร์
ห้องปฏิบัติการพยาบาล
 


แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  1. http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558
  2. วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
  3. http://www.dreamstime.com .สืบค้นวันที่ 7 ธ.ค.2558


Copyrights ® Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาเท่านั้น มิได้สร้างเพื่อหวังผลกำไร หากมีข้อความและภาพที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ขอความอนุเคราะห์เจ้าของนำมาประกอบการใช้งานและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้