Difference between revisions of "Main Page"

From learnnshare
Jump to: navigation, search
 
(179 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
<strong><font size="+1"><font color="blue">Learn</font> <font color="orange">&</font> <font color="green">Share</font> @<font color="magenta">วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</font></font></strong>
+
<div align="center"><strong><span style="font-size: 125%; color: blue;">Learn</span> <span style="font-size: 125%; color: orange;">&</span> <span style="font-size: 125%; color: green;">Share</span> <span style="font-size: 125%; color:  magenta;">@ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</span></strong> มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ ดังนี้</div><br />
  
{| style="text-align: left; border-style: solid; border-width: 1px; border-color: lightgreen"
+
<!------------learn & share @BCNPY objective--------------------->
 +
<hr />
 +
{| style="width: 100%; border: 1px solid #cef2e0; background-color: #f5fffa; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px;" |
 
|-
 
|-
| [[File:21st-century-rainbow.jpg|thumbnail|center|21st Century Rainbow]]  
+
! style="width: 50%; font-size: 100%; font-weight: normal; text-align: left; padding-left: 7px; background-color: #fdfde1; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px" |
|| Learn & Share @วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) ซึ่งเป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21<sup>st</sup> Century Learning Knowledge-and-Skills)  ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่ 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์) และ 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์) ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ (http://www.p21.org/storage/images/stories/rainbow/rainbow_external.jpg)
+
; [[ File:no1-icon.png|50px|left ]]<font color="blue">ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font>
<br><br><ref>ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</ref>  ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) ประกอบด้วย 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์  2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น และ 3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่ไม่เข้าไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
+
<hr noshade />
 +
: ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยทักษะทางด้าน ICT เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21<sup>st</sup> Century Learning Knowledge-and-Skills)  ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) <ref name="P21" /> ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่  
 +
:: • 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)  
 +
:: • 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์)  
 +
: ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
 +
[[ File:21st-century-rainbow.jpg|450px|center|border|21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow ]]
 +
 
 +
<font color="blue">
 +
; ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font> <ref name="text_ajvijarn" />  ประกอบด้วย
 +
: 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์   
 +
: 2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น  
 +
: 3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่นำไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 +
 
 +
! style="width: 50%; font-size: 100%; font-weight: normal; text-align: left; padding-left: 7px; background-color: #ddfcde; vertical-align: top; -moz-border-radius:10px" |
 +
; [[ File:no2-icon.png|50px|left ]]<font color="brown">ใช้เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน/ปฎิบัติงาน</font>
 +
<hr noshade />
 +
: ของนักศึกษาและบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยความรู้ที่จัดเก็บอาจจะเป็น
 +
: ความรู้แบบชัดแจ้งที่มีจัดเก็บเป็นลายลักษณ์อักษร(Explicit Knowledge) 
 +
: หรือเป็นความรู้แบบที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) และนำมาพัฒนาให้เป็นระบบ
 +
: เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ แชร์และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ได้
 +
[[ File:km-icon.png|400px|border|center|Knowledge Management ]]<ref name="km" />
 +
 
 +
<font color="blue">
 +
; การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู”</font>  ดังนี้
 +
: 1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
 +
: 2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
 +
: 3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้  ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs)
 +
[[ File:tuna-model.png|400px|border|center|Tuna Model ]]
 +
 
 
|}
 
|}
  
== การเริ่มต้นการเรียนรู้และการการแบ่งปัน ==
+
<!------------จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์-------------------->
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Manual:Configuration_settings Configuration settings list]
+
<hr />
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Manual:FAQ MediaWiki FAQ]
+
<table width="100%" border="0" cellspacing="1" cellpadding="1">
* [https://lists.wikimedia.org/mailman/listinfo/mediawiki-announce MediaWiki release mailing list]
+
<tr align="left" valign="bottom">
* [//www.mediawiki.org/wiki/Special:MyLanguage/Localisation#Translation_resources Localise MediaWiki for your language]
+
  <th colspan="5" bgcolor="#fdf6ec"><strong><span style="font-size: 125%; color:  magenta;">[[ File:learn-icon.png|border|50px ]] จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์</span> ( <span style="font-size: 125%; color: blue;">Start at a Learning Point</span> )</strong><hr /></th>
 +
  </tr>
 +
<tr valign="middle" align="center">
 +
  <td bgcolor="#bffc67">[[ File:ict-mediawiki-icon.png|150x150px|border|รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki|link=ICT-Wikitext ]] <br />รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki<br /><br /></td>
 +
  <td align="right">[[ File:right-arrow-icon.png|center ]]</td>
 +
  <td width="20%">[[ File:ict-icon.png|border|120x120px|เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT|link=ICT-MainPage ]] <br />เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT<br /><br /></td>
 +
  <td width="20%">[[ File:nurselab-icon.png|border|120x120px|เรียนรู้และแชร์ห้องปฏิบัติการพยาบาล |link=NurseLab-MainPage ]] <br />เรียนรู้และแชร์<br />ห้องปฏิบัติการพยาบาล</td>
 +
  <td width="20%">&nbsp;</td>
 +
</tr>
 +
</table><hr />
 +
 
 +
<!------------แหล่งอ้างอิง--------------------->
 +
<br /><span style="color: brown"><u>แหล่งข้อมูลอ้างอิง</u></span>
 +
<references>
 +
<ref name="P21">http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref>
 +
<ref name="text_ajvijarn">วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.</ref>
 +
<ref name="km">http://www.dreamstime.com .สืบค้นวันที่ 7 ธ.ค.2558</ref>
 +
</references>
  
<br /><br />
+
<!------------Copyrights-------------------->
<references>วิจารณ์ พานิช.(2555).วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21.. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.</references>
+
<br /><hr  />
 +
<div align="center"><span style="color: brown">Copyrights &reg; </span><strong><span style="font-size: 100%; color: blue;">Learn</span> <span style="font-size: 100%; color: orange;">&</span> <span style="font-size: 100%; color: green;">Share</span> <span style="font-size: 100%; color:  magenta;">@ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</span></strong>
 +
<br />จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาเท่านั้น มิได้สร้างเพื่อหวังผลกำไร หากมีข้อความและภาพที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ขอความอนุเคราะห์เจ้าของนำมาประกอบการใช้งานและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้</div>

Latest revision as of 05:18, 15 February 2016

Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ ดังนี้


No1-icon.png
ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)

ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยทักษะทางด้าน ICT เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Knowledge-and-Skills) ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) [1] ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่
• 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)
• 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์)
ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow

ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) [2] ประกอบด้วย
1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์
2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น
3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่นำไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
No2-icon.png
ใช้เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน/ปฎิบัติงาน

ของนักศึกษาและบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยความรู้ที่จัดเก็บอาจจะเป็น
ความรู้แบบชัดแจ้งที่มีจัดเก็บเป็นลายลักษณ์อักษร(Explicit Knowledge)
หรือเป็นความรู้แบบที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) และนำมาพัฒนาให้เป็นระบบ
เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ แชร์และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ได้
Knowledge Management
[3]

การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู” ดังนี้
1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs)
Tuna Model

Learn-icon.png จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์ ( Start at a Learning Point )
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki

Right-arrow-icon.png
เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT
เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT

เรียนรู้และแชร์ห้องปฏิบัติการพยาบาล
เรียนรู้และแชร์
ห้องปฏิบัติการพยาบาล
 


แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  1. http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558
  2. วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
  3. http://www.dreamstime.com .สืบค้นวันที่ 7 ธ.ค.2558


Copyrights ® Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาเท่านั้น มิได้สร้างเพื่อหวังผลกำไร หากมีข้อความและภาพที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ขอความอนุเคราะห์เจ้าของนำมาประกอบการใช้งานและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้