Difference between revisions of "ICT-MainPage"

From learnnshare
Jump to: navigation, search
Line 4: Line 4:
 
|-
 
|-
 
| [[ File:21st-century-rainbow.jpg|thumbnail|center|21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow ]]
 
| [[ File:21st-century-rainbow.jpg|thumbnail|center|21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow ]]
|| <font color="blue">
+
|| <strong><span style="font-size: 100%; color: blue;">Learn</span> <span style="font-size: 100%; color: orange;">&</span> <span style="font-size: 100%; color: green;">Share</span> <span style="font-size: 100%; color:  magenta;">@ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา</span></strong> <font color="blue">
 
; ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font> <ref name="text_ajvijarn" />  เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21<sup>st</sup> Century Learning Knowledge-and-Skills)  ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) <ref name="P21" /> ซึ่งประกอบด้วย
 
; ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)</font> <ref name="text_ajvijarn" />  เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21<sup>st</sup> Century Learning Knowledge-and-Skills)  ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) <ref name="P21" /> ซึ่งประกอบด้วย
 
: 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์   
 
: 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์   

Revision as of 03:26, 2 February 2016

Ict-icon2.png
Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา

21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow
Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) [1] เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Knowledge-and-Skills) ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) [2] ซึ่งประกอบด้วย
1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์
2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น
3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่ไม่เข้าไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


Learn-icon.png จุดเริ่มต้นการเรียนรู้ ( Start at a Learning Point )
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki
รู้จักและเรียนรู้ภาษา Wiki

Right-arrow-icon.png
เรียนรู้และแชร์การใช้งานโปรแกรม Word
เรียนรู้และแชร์
การใช้งานโปรแกรม Word
เรียนรู้และแชร์การใช้งานโปรแกรม Exel
เรียนรู้และแชร์
การใช้งานโปรแกรม Excel
เรียนรู้และแชร์การใช้งานโปรแกรม Powerpoint
เรียนรู้และแชร์
การใช้งานโปรแกรม Powerpoint
เรียนรู้และแชร์การใช้งานโปรแกรม Utility
เรียนรู้และแชร์
การใช้งานโปรแกรม Utility
เรียนรู้และแชร์การใช้งาน SocialMedia
เรียนรู้และแชร์
การใช้งาน SocialMedia


Share-icon.jpg เข้าสู่โหมดการแบ่งปันของชุมชนนักปฏิบัติ ( Enter a Sharing Point of Community of Practices (CoPs) )
ผลงานสื่อมัลติมีเดีย
ผลงานสื่อมัลติมีเดีย

วิดีโอ เรื่อง เส้นประสาทสมอง 12 คู่


วิดีโอ เรื่อง ล้างมือบ่อยครั้ง ยับยั้งเชื้อโรค

ผลงานสื่องานเอกสาร
ผลงานสื่องานเอกสาร

หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เส้นประสาทสมอง 12 คู่


•  

ผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์

•  


•  




แหล่งข้อมูลอ้างอิง
  1. วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
  2. http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558