|
|
Line 23: |
Line 23: |
| : มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ ซึ่งจะมีผลทำให้มีการใช้งาน/ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | | : มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ ซึ่งจะมีผลทำให้มีการใช้งาน/ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
| [[ File:km-icon.png|border|center|Knowledge Management ]] | | [[ File:km-icon.png|border|center|Knowledge Management ]] |
| + | |
| + | |
| + | <font color="blue"> |
| + | ; การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู”</font> <ref name="km" /> ดังนี้ |
| + | : 1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” |
| + | : 2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) |
| + | : 3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs) |
| + | |
| |} | | |} |
| | | |
Line 44: |
Line 52: |
| <ref name="P21">http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref> | | <ref name="P21">http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref> |
| <ref name="text_ajvijarn">วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.</ref> | | <ref name="text_ajvijarn">วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.</ref> |
− | <ref name="km">http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref> | + | <ref name="km">อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558</ref> |
| </references> | | </references> |
Revision as of 09:13, 1 February 2016
Learn & Share @ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ ดังนี้
- 1. ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill)
-
ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา โดยทักษะทางด้าน ICT เป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Knowledge-and-Skills) ของกรอบแนวคิดของเครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) [1] ที่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หรือที่เรียกว่า “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C” โดยที่
- • 3R ได้แก่ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)
- • 4C ได้แก่ Critical thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (ความร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์)
- ซึ่งยังรวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
- ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Media, Technology Skill) [2] ประกอบด้วย
- 1. ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) นั่นคือทักษะในการเข้าถึง (access) อย่างรวดเร็วและรู้แหล่ง ทักษะการประเมินความน่าเชื่อถือ และทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์
- 2. ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) เป็นทักษะสองทาง นั่นคือด้านรับสารจากสื่อและด้านการสื่อสารออกไปได้หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น
- 3. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Iteracy) โดยเน้นการใช้เครื่องนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่ไม่เข้าไปใช้ในทางที่ทำร้ายตนเอง หรือทำลายอนาคตของตนเอง ซึ่งต้องปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
|
- 2. ใช้เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน/ปฎิบัติงาน[3]
-
ของนักศึกษาและบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ที่มีอยู่กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร
- มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ ซึ่งจะมีผลทำให้มีการใช้งาน/ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) มีการดำเนินการตามโมเดล “ปลาทู” [3] ดังนี้
- 1. ส่วนหัว ส่วนตา เป็นส่วนที่มองว่ากำลังจะไปทางไหน (Knowledge Vision - KV) ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
- 2. ส่วนกลางลำตัว เป็นส่วนที่เป็น “หัวใจ” (Knowledge Sharing - KS) ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
- 3. ส่วนหาง เป็นส่วนสร้างคลังความรู้ (Knowledge Assets) เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT เสมือนการ “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices - CoPs)
|
จุดเริ่มต้นการเรียนรู้และแชร์ ( Start at a Learning Point ) |
เรียนรู้และแชร์ทักษะ ICT
|
เรียนรู้และแชร์ ห้องปฏิบัติการพยาบาล |
|
|
|
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
- ↑ http://www.p21.org/our-work/p21-framework .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558
- ↑ วิจารณ์ พานิช.(2555) .วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
- ↑ 3.0 3.1 อ.ประพนธ์ ผาสุขยืด .สืบค้นวันที่ 19 พ.ย.2558